โครงการต่อเนื่องระยะยาว

โครงการโรงเรียนพัฒนาตนเอง

Teacher and School Quality
Program: TSQP
ยกระดับคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนให้สามารถพัฒนาตนเองได้ทั้งระบบ (Whole School Approach) ทั้งด้านการพัฒนาคุณภาพของระบบบริหารจัดการและการเรียนการสอนที่มีคุณภาพสูงในชั้นเรียน เพื่อพัฒนานักเรียนให้เกิดสมรรถนะในศตวรรษที่ 21
การพัฒนาคุณภาพของโรงเรียนทั้งระบบ (Whole School
Approach) ที่จะทำให้เกิดการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ซึ่งมี
องค์ประกอบที่สำคัญ 2 ส่วน
การพัฒนาคุณภาพของ
ระบบบริหาร
จัดการโรงเรียน
การจัดการเรียนการสอน
ที่มีคุณภาพสูงใน
ชั้นเรียน
เพื่อมุ่งสร้างผลลัพธ์การเรียนรู้ =
Values + Attitude + Skills
+ Knowledge
ให้เกิดกับผู้เรียนทุกคน

เป้าหมายโครงการ

สร้างโอกาส
ทางการศึกษา
ช่วยเหลือและพัฒนาเต็ม
ศักยภาพอย่างปลอดภัย
ลดอัตราการหลุดออก
จากระบบการศึกษา
ยกระดับคุณภาพการ
ศึกษาอย่างต่อเนื่อง

กลุ่มเป้าหมาย

ระดับประถมศึกษา
ร้อยละ 61.5
115,375 คน
ข้อมูลเมื่อปี 2565
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
ร้อยละ 17.2
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ร้อยละ 1.8
ระดับอนุบาล
ร้อยละ 19.5

จำนวนโรงเรียนที่เข้าร่วม

ระยะเวลาการดำเนินโครงการ

2562
2563
2564
2565
2566
จำนวนโรงเรียน
290
285
288
สนับสนุนให้โรงเรียนบริหารจัดการ
ร่วมกับหน่วยงานต้นสังกัด
285
288
จำนวนเครือข่าย
5 เครือข่ายร่วมพัฒนา
11 เครือข่ายร่วมพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้

ขั้นตอนการดำเนินงาน

การบริหารโรงเรียนทั้งระบบและการพัฒนา
แบ่งออกเป็น 5 ระยะ
ระยะที่ 1
การเตรียม
ความพร้อม
ระยะที่ 2
การวางแผน
พัฒนา
ระยะที่ 3
การดำเนิน
พัฒนา
ระยะที่ 4
การเก็บข้อมูล
ประมวลผลการ
ปฏิบัติจริง
ระยะที่ 5
การจัดเวทีเสนอ
ผลงานเสวนาแลก
เปลี่ยนเรียนรู้

แนวทางการดำเนินงาน

กระบวนการพัฒนาคุณภาพ
โรงเรียนทั้งระบบการสนับสนุน
โรงเรียนเป้าหมาย
- ซึ่งพัฒนาคุณภาพด้วย
มาตรการที่กำหนดไว้ใน
โครงการ TSQP และ
ประยุกต์นวัตกรรมด้าน
การเรียนการสอน จาก
เครือข่ายร่วมพัฒนาทั้ง
11 เครือข่ายอย่างต่อเนื่อง
- การสนับสนุนการพัฒนา
ระบบสารสนเทศเพื่อส่งเสริม
การพัฒนาคุณภาพการศึกษา
(Q-Info)
- ให้มีประสิทธิภาพสนองต่อ
ความต้องการและการดำเนิน
งานของโรงเรียนทั้งระบบ
รวมไปถึงเชื่อมโยงกับหน่วย
งานต้นสังกัดและหลักสูตร
ฐานสมรรถนะ
กระบวนการวิจัย ติดตาม
ถอดบทเรียนเพื่อการสื่อสาร
และขยายผล
- การติดตามประเมินผลการ
ดำเนินงาน และการประเมินผล
เชิงพัฒนา (Developmental
Evaluation)
- การสนับสนุนให้เกิดการขยาย
ผลจากโรงเรียนต้นแบบที่มี
ความพร้อมสูง
- การนำเครื่องมือที่ได้จาก
การวิจัยมาใช้วัดผล
- การวิจัยเพื่อเก็บเกี่ยวผล
การศึกษา
- การจัดให้มีการสื่อสารสังคม
(Public Advocacy)
- การถอดบทเรียนการดำเนิน
งานโครงการ

การประเมินโครงการ

การประเมิน
พัฒนาการของครู
การประเมิน
พัฒนาการ
ของ
ผู้อำนวยการ
การประเมิน
พัฒนาการ
ของนักเรียน
  • ผอ.เป็นผู้นำ การเปลี่ยนแปลงและเป็นผู้นำทางวิชาการ
  • ผอ.มีระบบการพัฒนาครู
  • ผอ.มีบทบาทเป็นโค้ช
  • ผอ.มีระบบประเมินและติดตามผลตามแผนงาน
  • ผอ. สามารถทำงานอย่างมีส่วนร่วม กับทุก
    ภาคส่วนเพื่อการพัฒนาโรงเรียนทั้งระบบแบบครบวงจร
  • ครูมีการติดตามประเมินผลผู้เรียนได้
  • ครูเป็นนักเรียนรู้
  • ครูเป็นโค้ช/Facilitator
  • ครูเป็นนักออกแบบการเรียนรู้
  • ครูสร้างการมีส่วนร่วมภายในโรงเรียน
  • และภายนอกได้
  • ความรู้ (Knowledge)
  • ทักษะ (Skills)
  • คุณลักษณะอันพึงประสงค์
    (คุณธรรมจริยธรรม)

ปัจจัยแห่งความสำเร็จ

เครือข่าย
การบริหารจัดการ

ความท้าทายในการทำงาน

โครงสร้างของรัฐ
บุคคล