หน่วยงานขับเคลื่อนระดับพื้นที่

โฮงเฮียนสืบสานภูมิปัญญาล้านนา

โฮงเฮียนสืบสานภูมิปัญญาล้านนา


เกิดจากความร่วมมือของพ่อครู แม่ครู กลุ่มศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้าน องค์กรพัฒนาเอกชน สถาบันวิชาการ และองค์กรชุมชน เพื่อทําการถ่ายทอดองค์ความรู้ภูมิปัญญา ให้กับลูกหลานและผู้สนใจในท้องถิ่น นําเสนอกระบวนการสืบทอดองค์ความรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นสาขาต่างๆ รูปแบบที่หลากหลาย เพื่อให้คนรุ่นใหม่สามารถสืบสานได้อย่างต่อเนื่อง

เป้าหมายของโครงการ

สร้างคนรุ่นใหม่ให้มีความรู้
ความเข้าใจต่อเรื่องของ
ภูมิปัญญาไทย
รักษาวัฒนธรรมล้านนาในรูปแบบ
ดั้งเดิม อีกทั้งการแสวงหาองค์ความรู้
ที่ไม่ผ่านการเปลี่ยนแปลง หรือปรับ
ปรุงใดๆ เพื่อส่งต่อสู่คนรุ่นใหม่

ระยะเวลาการดำเนินโครงการ

ปี 2519
จัดงาน "สืบสานล้านนา" ในช่วงต้นเดือนเมษายน ของทุกปี ติดต่อกันมาเป็นเวลา 5 ปี หวังว่าจะส่งผลต่อการมีส่วนร่วม ในการพัฒนาท้องถิ่นที่อยู่พื้นฐานวัฒนธรรม ภูมิปัญญาของท้องถิ่นร่วมกันในอนาคต
ปี 2543 - ปัจจุบัน
จัดก่อตั้ง “โฮงเฮียนสืบสานภูมิปัญญา ล้านนา” และได้ดำเนินการรวบรวมองค์ ความรู้ภูมิปัญญาให้กับลูกหลานและผู้สนใจ ในท้องถิ่น ได้เกิดการเรียนรู้และสืบทอด ภูมิปัญญาท้องถิ่นสาขาต่าง ๆ อย่างยั่งยืน

กลุ่มเป้าหมายของโครงการ

กลุ่มนักเรียนชั้น
ประถมศึกษา
(6 - 11 ปี)
กลุ่มนักเรียนระดับชั้น
มัธยมศึกษาตอนต้น
(12 - 15 ปี)
กลุ่มนักเรียนระดับชั้น
มัธยมศึกษาตอนปลาย
(16 - 18 ปี)
กลุ่มนักศึกษา
มหาวิทยาลัย
(18 - 25 ปี)
กลุ่มคนทำงาน
(25 - 60 ปี )
กลุ่มผู้สูงอายุ

รายละเอียดกิจกรรมภายในโครงการ

คณะกรรมการและผู้ดำเนินงานได้มีการประสานงานกับพ่อครูแม่ครู ผู้รู้ในท้องถิ่นเปิดสอนวิชา
ภูมิปัญญาแขนงต่าง ๆ และเปิดรับสมัครนักเรียนและผู้สนใจเข้าเรียนรู้ภูมิปัญญาพื้นบ้านแขนงต่าง ๆ
มีผู้ให้ความสนใจและเข้าเรียนรู้เป็นจำนวนมาก
ภาษาล้านนา
ดนตรีพื้นเมือง
จักรสาน
แต่งคร่าว-ซอ
ฟ้อนพื้นเมือง
วาดรูปล้านนา
การทำ ตุง-โคม
ฟ้อนดาบ-ฟ้อนเจิง
ของเล่นเด็ก
พิธีกรรม
การทอผ้า
การปั้น
เครื่องเขิน
แกะสลัก
วิชาทางด้าน
สล่าเมือง

ปัจจัยแห่งความสำเร็จ

เครือข่าย
การสร้างทายาท
ความร่วมมือของ
ชุมชน/
นิเวศเชิงพื้นที่

ความท้าทายในการทำงาน

ทรัพยากรบุคคุล