หน้าหลัก
ประวัติความเป็นมา
ประเภทโครงการ
โครงการต่อเนื่องระยะยาว
หน่วยงานขับเคลื่อนระดับพื้นที่
องค์กรจัดตั้งเพื่อการเรียนรู้และพื้นที่การเรียนรู้
ผู้ประกอบการด้านการศึกษา
เทคโนโลยีการเรียนรู้และสื่อ
เกี่ยวกับเรา
Search icon
Search
โรงเรียนบ้านปลาดาว
โครงการครูรักษ์ถิ่น
โครงการก่อการครู
โครงการโรงเรียนพัฒนาตนเอง
กลุ่มรักษ์เขาชะเมา
สำนักกิจกรรมกิ่งก้านใบ
กลุ่มมะขามป้อม
สวนศิลป์บินสิ
โฮงเฮียนสืบสานภูมิปัญญาล้านนา
โครงการกลุ่มไม้ขีดไฟ
บ้านไร่อุทัยยิ้ม
สถาบันการเรียนรู้ไทยเบิ้ง
พังงาแห่งความสุข
พิพิธภัณฑ์เล่นได้
เครือข่ายพื้นที่นี้ดีจัง
มหาวิทยาลัยไทบ้าน
TK Park
หอภาพยนตร์
TCDC
ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร
Saturday School
Deschooling Game
ครูขอสอน
BASE Playhouse
A-chieve
insKru
Black Box
The KOMMON
Mappa
THE STANDARD
The Active
Thai MOOC
StartDee
อะไรอะไรก็ครู
Friedrich Naumann Foundation
Life Education
รามจิตติ
รายการห้องพักครู
ห้องสมุดแมวหางกิ้นส์
หอศาสตราแสนเมืองฮอม
ESD
Insight for change
CYF Thailand มูลนิธิส่งเสริมพัฒนาเด็กและเยาวชน
โพควา
โครงการต่อเนื่องระยะยาว
โครงการครูรัก(ษ์)ถิ่น
จากปัญหาการขาดแคลนครูในโรงเรียนที่มีพื้นที่ห่างไกล
โครงการครูรัก(ษ์)ถิ่น จึงผลิตและพัฒนาครู เพื่อกลับไปพัฒนาโรงเรียนในชุมชนหรือท้องถิ่นบ้านเกิด สร้างโอกาสทางการศึกษา สําหรับนักเรียนด้อยโอกาสในพื้นที่ห่างไกล ลดความเหลื่อมล้ำให้มีครูเพียงพอและเป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชน โดยร่วมกับหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
6
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงอุดมศึกษาวิจัยวิทยาศาสตร์และนวัตกรรม
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา
สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา
กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา
ดำเนินงานภายใต้แผนพัฒนาระบบการผลิตและพัฒนาครูสำหรับพื้นที่ห่างไกล กองทุนเพื่อ
ความเสมอภาพทางการศึกษา มีเป้าหมายที่จะ
สร้างโอกาสทางการศึกษาให้นักเรียนด้อยโอกาสในพื้นที่ห่างไกล
ผ่านกระบวนการผลิตและพัฒนาครูให้มีคุณภาพสูง
เพื่อไปพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษา
ในโรงเรียนที่ห่างไกล
และขับเคลื่อนนโยบายสนับสนุนสถาบันต้นแบบในการผลิตและพัฒนาครูของประเทศ
เป้าหมายการพัฒนาการเรียนรู้
ผลิตครูรุ่นใหม่เพื่อกลับ
ไปพัฒนาโรงเรียนท้องถิ่น
หรือบ้านเกิดในพื้นที่ห่างไกล
ส่งเสริมการทำงานระหว่าง
องค์กร (หน่วยพัฒนาครู -
หน่วยใช้ครู)
สร้างสมรรถนะของการ
เป็นนักพัฒนาชุมชน และ
กลับไปเป็นครูในโรงเรียน
พื้นที่ห่างไกล
กลุ่มเป้าหมาย
728 คน
ข้อมูลเมื่อปี 2565
คุณครูในระดับชั้นปฐมวัย
และชั้นประถมศึกษาจำนวน 1,500 คน
จำนวนผู้มีส่วนร่วมในโครงการ
(แสดงผลตามภาค)
ผู้เข้าร่วมโครงการ
มหาวิทยาลัยและสถานศึกษา
นักเรียนผู้ได้รับผล
ประโยชน์ปลายทาง
ระยะเวลาการดำเนินโครงการ
ปี 2563
ปี 2565
ผลิตและพัฒนาครู 3 รุ่น ครอบคลุม
โรงเรียนห่างไกล 699 แห่ง
ปี 2571
ผลิตและพัฒนาครูรุ่นที่ 4
นักศึกษาทุน จำนวน 327 คน
องค์ความรู้ เครื่องมือ และนวัตกรรมสอดคล้อง
กับความต้องการของชุมชน 9 สถาบัน
ฐานข้อมูลนำ มาพัฒนาครูรุ่นใหม่ 635 ชุมชน
แหล่งฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู 280 แห่ง
ปี 2577
ติดตามผลต่อเนื่อง 6 ปี
กิจกรรมในองค์กร
ทำฐานข้อมูล
โรงเรียนห่างไกล
และอัตราบรรจุ
ติดตามประเมินผล
จัดกระบวนการผลิต
พัฒนาครูรุ่นใหม่
พัฒนาสร้างครูคุณภาพ
คัดกรอง คัดเลือกนักเรียน
กลุ่มเป้าหมายเพื่อรับทุน
คัดเลือกสถาบันการศึกษาเพื่อเป็นสถาบันพัฒนาครู
เปิดรับสถานศึกษาเข้าร่วมโครงการ
แผนการดำเนินงาน
สนับสนุนทุนการ
ศึกษานักศึกษา
รุ่นที่ 1 - 4
1
พัฒนานักศึกษา
ผู้รับทุนรุ่นที่ 1 - 4
2
งบประมาณเตรียม
ความพร้อมสำหรับ
รุ่นที่ 5
3
กิจกรรมพัฒนาครู
ผู้บริหาร และ
บุคลากร
4
พัฒนา
สถาบันต้นแบบ
5
ศึกษาวิจัย ติดตาม
ประเมินจัดการ
ถอดบทเรียนสำหรับ
โรงเรียนในพื้นที่
ห่างไกลรุ่นต่อไป
6
ปัจจัยแห่งความสำเร็จ
เครือข่าย
ทุน
การสร้างทายาท
ความท้าทายในการทำงาน
โครงสร้างของรัฐ
ความร่วมมือของ
หน่วยงานภาครัฐหลายฝ่าย
https://www.eef.or.th/fund/teachereef/
https://www.facebook.com/Krurakthin.org/