Learning Technology & Media

ESD

ESD


ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่เกิดขึ้นจากความร่วมมือของยูเนสโก้เกาหลีร่วมกับคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รับหน้าที่ผู้ประสานงานความร่วมมือระดับประเทศ

เป้าหมายของโครงการ

การขับเคลื่อนประเด็นด้านพลเมืองโลกศึกษาและโรงเรียนแห่งการเรียนรู้

ทิศทางในอนาคต

ผสานรวมพลเมืองโลกศึกษาเข้าในหลักสูตรพื้นฐาน
โดยการสนับสนุนจากศูนย์การศึกษาเพื่อความเข้าใจ
อันดีระหว่างประเทศแห่งเอเชียแปซิฟิก (APCEIU)
ขยายเครือข่ายผ่าน
Teacher Education Institute (TEI)
และชุมชนการเรียนรู้ของครูในระดับอนุภูมิภาค
สร้างความร่วมมือระหว่างกลุ่มประเทศ
ความร่วมมืออ่าวอาหรับ (GCC) ของอาเซียน
ได้แก่ไทย, มาเลเซีย, ฟิลิปปินส์, อินโดนีเซีย,
กัมพูชา และลาว

รายละเอียดกิจกรรมภายในโครงการ

การพัฒนาหลักสูตรโปรแกรมพัฒนาครู
ด้านพลเมืองโลก
การทำวิจัยกระบวนการมีส่วนร่วมในการ
กำหนดนโยบายที่เกี่ยวกับพลเมืองโลก
การทำเครือข่ายการขับเคลื่อนการศึกษาเพื่อความ
เป็นพลเมืองโลก (GCED) ผ่านเครือข่ายครู
การกระจายองค์ความรู้สู่สาธารณะ

แผนการดำเนินงานในพื้นที่กรุงเทพมหานคร

2549
จัดตั้งศูนย์วิจัยและพัฒนา
การศึกษาเพื่อการพัฒนาชีวิต
2550
เริ่มดำเนินงาน
2565-2566
มีโรงเรียนเเนวหน้าเข้าร่วม
การขับเคลื่อนเรื่องการศึกษา
เพื่อความเป็นพลเมืองโลก
(GCED) 20 โรงเรียน
2567
ทำงานเพิ่มกับอีก 90 โรงเรียน
พร้อมสนับสนุน Buddy & PLC
2568
มีโรงเรียนในการขับเคลื่อน
การศึกษาเพื่อความเป็น
พลเมืองโลก (GCED)
ภายใต้เครือข่ายการบริหารงาน
กรุงเทพมหานคร (BMA) รวม 50 เขตพื้นที่

ตัวอย่างผลงาน

การจัดประชุมนานาชาติ
GCED Teacher
Forum
เทรนนนิ่งเเพลตฟอร์ม
เทรนนิ่ง: ความหลากหลาย
และสังคมที่ไม่แบ่งเเยก
(Diversity and Inclusive
City)
สิทธิมนุษยชนเเละความ
เป็นธรรม (Human Rights
and Social Justice)
โครงการพลเมือง
โลกมรดกภูมิปัญญา
วัฒนธรรม
โครงการพลเมือง
โลกร่วมกับ
มหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา

ภาคีเครือข่าย

กลุ่มเป้าหมายโครงการ

Learning Community >> สังคมแห่งการเรียนรู้
Teacher Educator >> ครูผู้สอน
Preservice Teacher >> ครูอนุบาล
In-Service Teacher >> ครูประจำการ

ปัจจัยแห่งความสำเร็จ

เครือข่าย
การร่วมมือ
กับนานาชาติ

ความท้าทายในการทำงาน

โครงสร้างของรัฐ
ความขัดแย้ง
ทางความคิด
เงินทุน
ความยั่งยืน
ของโครงการ