Learning Technology & Media

CYF Thailand มูลนิธิส่งเสริมพัฒนาเด็กและเยาวชน

CYF Thailand


มูลนิธิขับเคลื่อนงานด้านการศึกษานอกระบบกับเด็กและเยาวชนในพื้นที่ห่างไกล ด้วยการจัดทำ “ศูนย์การเรียน” โดยภาคเอกชนและสร้างความร่วมมือกับชาวบ้านในท้องที่

เป้าหมายของโครงการ

การพัฒนาเด็กและเยาวชนในเขตพื้นที่ทุรกันดารให้มีโอกาสทางการเรียนรู้
ภาคีเครือข่าย >> การสร้าง
ภาคีเครื่อข่ายในจังหวัด
เพื่อพัฒนากลไกในการค้นหา
พัฒนา เเละส่งต่อเด็ก
นอกระบบการศึกษา
และเด็กตกหล่น
การเชื่อมระบบฐานข้อมูล >>
บูรณาการเชื่อมโยง
ฐานข้อมูลเด็กและเยาวชน
ในระดับจังหวัด
การศึกษา >> การพัฒนา
รูปแบบการจัดการ
เรียนการสอนให้เด็กนอกระบบ
การศึกษาและเด็กตกหล่น
ตรงตามความต้องการ

ทิศทางในอนาคต

Zero Dropout Thailand
สร้างการขับเคลื่อนเชิงนโยบายแก้ปัญหา
เด็กนอกระบบ เด็กตกหล่นให้กลับเข้า
สู่ระบบการศึกษา
พัฒนาระบบ AI เข้ามาเป็นหนึ่งในการ
ทำงานขับเคลื่อนการศึกษา

รายละเอียดกิจกรรมภายในโครงการ

2545
เริ่มจัดตั้งมูลนิธิ CYF
2549
โครงการเด็กบ้านไกลพึ่งพาตนเอง
จังหวัดกาญจนบุรี
2557
จัดตั้งศูนย์การเรียนรู้
ชุมชนศรีสุวรรณสะเนพ่อง
(วิถีกะเหรี่ยงทุ่งใหญ่นเรศวร)
จังหวัดกาญจนบุรี
2562
เปิดศูนย์การเรียนซีวายเอฟ
จังหวัดนครพนม
2565
- สพก. นำร่อง เสนอแผน
ปฏิบัติการเด็กนอกระบบ
เด็กตกหล่น เด็กด้อยโอกาส
- สพฐ. อนุบัติและจัดสรรงบประมาณให้กับ
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา 11 แห่ง จำนวน 7
จังหวัดนำร่อง (ได้แก่ จังหวัดตาก จังหวัด
กาญจนบุรี จังหวัดปัตตานี จังหวัดนครพนม
จังหวัดอุบลราชธานี จังหวัดสงขลา และ
จังหวัดตรั่ง) เพื่อดำเนินโครงการแก้ปัญหา
เด็กนอกระบบ เด็กตกหล่น
2566
- ขยายการดำเนินงานโครงการ 13 จังหวัดนำร่อง
(นครพนบุ อุบลราชธานี กาญจนบุรีตาก สงขลา
9รัง ปัตตานี ขยายบำร่อง มึงกาฬ สระแก้ว
เชียงใหม่ น่าน นครราชสีมา ราชบุรี)
- สพฐ. อนุมัติและจัดสรรงบประมาณให้กับสำนักงาน
เขตพื้นที่การศึกษา 19 แห่งเพื่อดำเนิน
โครงการแก้ปัญหาเด็กนอกระบบ เด็กตกหล่น
ในปังนประบาณ พ.ศ. 2566

รูปแบบการดำเนินงาน

เครื่องมือที่ 1
ระบบฐานข้อมูล
กลางจังหวัด
เครื่องมือที่ 2
แบบสอบถาม
หน้าเดียว
เครื่องมือที่ 3
กูเกิ้ลฟอร์มประมวลผล
เครื่องมือที่ 4
โรงเรียนมือถือ
การศึกษาที่ออกแบบได้
เรียนรู้ที่ไหนเมื่อไหร่ก็ได้
เครื่องมือที่ 5
1 โรงเรียน 3 รูปแบบ
ห้องเรียนสร้างโอกาสเพื่อสนับสนุนเด็กที่กำลังจะหลุดออกจากระบบการศึกษา
ผ่านการเรียนรู้แบบบูรณาการที่สามารถนำไปใช้ได้จริง

กระบวนการเรียนรู้ บันได 4 ขั้นสู่ความฝัน

ชิม
นักเรียนโพสต์การศึกษาตามอัธยาศัยในประเด็นที่สนใจอยากเรียนรู้
ชอบ
การสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้เพื่อนำไปสู่การค้นพบศักยภาพและสิ่งที่ชอบของนักเรียน
โชกโชน
ค้นหาและค้นพบในสิ่งที่นักเรียนชอบอย่างลึกซึ้ง
เชี่ยวชาญ
การทำLearning Project ในสิ่งที่นักเรียนสนใจที่นักเรียนเพื่อนำไปสู่การมีความรู้อย่างเชี่ยวชาญ

กลุ่มเป้าหมายโครงการ

ประชากรวัยเรียนทุกคนที่อยู่นอกระบบการศึกษา
- เด็กกลุ่มเปราะบาง
- เด็กในกระบวนการยุติธรรม
- เด็กตกหล่น
- เด็กไร้สัญชาติ
- เด็กพิการ
- เด็กสามจังหวัดชายแดนภาคใต้

ผลลัพธ์การดำเนินงาน

เกิดแผนยุทธศาสตร์
การขับเคลื่อนโครงการ
ในระดับจังหวัด
เกิดกลไกการทำงาน
เชิงพื้นที่ตำบลต้นแบบ
ที่ช่วยลดปัญหาอาชญากรรม
ในชุมชนได้
พัฒนารูปแบบ
การศึกษาที่หลากหลาย
สำหรับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ
เกิดการจัดการ
เรียนรู้ร่วมกันระหว่าง
ครอบครัว ชุมชน มหาวิทยาลัย
เกิดการจัดการศึกษาทางเลือกในกระบวนการยุติธรรม
ในรูปแบบ "ศูนย์การเรียนรู้" ซึ่งมีผู้เรียนจำนวน 1,375 คน คิดเป็น 48.9% ได้กลับสู่
การศึกษาอีกครั้งในรูปแบบศูนย์การเรียน
และสามารถจบการศึกษาแล้ว 685 คน (ข้อมูล ณ เดือนพฤศจิกายน 2566)

ปัจจัยแห่งความสำเร็จ

เครือข่าย
ความสามารถ
ในการทำงาน
ด้วยตนเอง

ความท้าทายในการทำงาน

โครงสร้างของรัฐ
การละเลยจาก
ภาครัฐ