หน่วยงานขับเคลื่อนระดับพื้นที่

กลุ่มรักษ์เขาชะเมา

“กลุ่มรักษ์เขาชะเมา” เป็นกลุ่มองค์กรชุมชน
ที่ได้ทำงานในด้านการพัฒนาเด็กเยาวชนและ
ชุมชนในพื้นที่ของ ตำบลทุ่งควายกิน อำเภอแกลง
จังหวัดระยอง รวมไปถึงพื้นที่ใกล้เคียง และใน
ปัจจุบันในขยับขยายเครือข่ายในการทำงาน
ระดับภาคในพื้นที่ภาคตะวันออก และเครือข่าย
ระดับประเทศ โดยเป็นกลุ่มอิสระที่ตั้งขึ้นมา
โดยเยาวชนในพื้นที่
กลุ่มรักษ์เขาชะเมาพัฒนาการเรียนรู้ออกเป็นองค์ความรู้ต่าง ๆ ที่มีอยู่ในชุมชน
ไม่ว่าจะเป็น..
ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ประเพณี
วัฒนธรรม
อาชีพ

เป้าหมายโครงการ

กลุ่มผ้ปกครอง
กลุ่มคนทำงาน (25 - 60 ปี )
กลุ่มนักศึกษามหาวิทยาลัย (18 - 25 ปี)
กลุ่มนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา
ตอนปลาย (16 - 18 ปี)
กลุ่มนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา
ตอนต้น (12 - 15 ปี)
กลุ่มนักเรียนชั้นประถมศึกษา (6 - 11 ปี)

รูปแบบการพัฒนาโครงการ

1
“ช่วงก่อตั้งกลุ่ม”
(พ.ศ. 2536 - พ.ศ. 2537)
ก่อตั้งขึ้นอย่างเป็นทางการเมื่อ
โดยเยาวชนในชุมชนภายใต้การนำ
ของกลุ่มที่มีความสำนึกรัก
บ้านเกิดเมืองนอนของตน
จึงกลับมาเชิญชวนรวมกลุ่มกัน
เพื่อทำกิจกรรมเพื่อส่วนรวม
2
“ช่วงการสร้างเครือข่าย
ในพื้นที่”
(พ.ศ. 2537 - พ.ศ. 2538)
สร้างความเข้าใจกับทางผู้ปกครอง
ของเยาวชน และบุคคลทั่วไปใน
ชุมชนถึงที่มาที่ไป ตลอดจนชี้แจง
ถึงเหตุผลของการรวมกลุ่มกัน
เพื่อให้เกิดการเป็นที่ยอมรับ
3
“ช่วงการสร้างเครือข่ายระหว่าง
พื้นที่และองค์กรภายนอก”
(พ.ศ. 2539 - ปัจจุบัน)
ขยับขยายความร่วมมือในการ
ทำ งานด้านการพัฒนาและการทำ
กิจกรรมไปยังพื้นที่อื่น ๆ พร้อม
ทั้งขยายความร่วมมือกับองค์กร
ต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน

รายละเอียดกิจกรรมภายในโครงการ

ปี 2537 - 2547
ทำงานกับเด็ก/เยาวชนและผู้ปกครอง เด็กในชุมชน จำนวน 100 คนทำงานกับเด็ก/เยาวชนและผู้ปกครอง เด็กในชุมชน จำนวน 100 คน
ปี 2547 - 2557
เริ่มขยายงานทำงานใน ชุมชนต.ทุ่งควายกิน อ.แกลงและ ต.น้ำเป็น อ.เขาชะเมา จ.ระยอง - โครงการชุมชนเป็นสุข สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริม สุขภาพ(สสส./สำ นัก6) ผู้เข้าร่วม 100 คน - โครงการรักษ์ป่าสร้างคน 84 ตำบล วิถีพอเพียงสนับสนุนโดยบริษัทปตท. (มหาชน)จำกัด ผู้เข้าร่วม 100 คน - โครงการเครือข่ายสืบสานภูมิปัญญา สนับสนุน โดยวิทยาลัยการจัดการ ทางสังคม (วจส.) ผู้เข้าร่วม 100 คน - ค่ายรักษ์วัฒนธรรมเรื่องเก่าที่บ้านเกิด (2541-ปัจจุบัน)ผู้เข้าร่วม 300 คนทำงานกับเด็ก/เยาวชนและผู้ปกครอง เด็กในชุมชน จำนวน 100 คน
ปี 2557 - 2560
โครงการ young food ร่วมกับมูลนิธิ อาสาสมัครเพื่อสังคม (มอส.) ผู้เข้าร่วม 30 คนทำงานกับเด็ก/เยาวชนและผู้ปกครอง เด็กในชุมชน จำนวน 100 คน
ปี 2561 - 2562
หน่วยจัดการเด็กและ เยาวชนภาคตะวันออก 8 จังหวัด จำนวน 50 โครงการย่อย (แกนนำ 250/ผู้รับประโยชน์ 500 คน)ทำงานกับเด็ก/เยาวชนและผู้ปกครอง เด็กในชุมชน จำนวน 100 คน
ปี 2562 - 2563
หน่วยจัดการเด็กและ เยาวชนภาคตะวันออก จำนวน 30 โครงการ (แกนนำ 150/ผู้รับ ประโยชน์ 300 คน)ทำงานกับเด็ก/เยาวชนและผู้ปกครอง เด็กในชุมชน จำนวน 100 คน
ปี 2563 - 2564
โครงการพัฒนาศักยภาพ ครูและเด็กนอกระบบ สนับสนุน โดยกองทุน เพื่อความเสมอภาค ทางการศึกษา (กสศ.) ครูนอกระบบ 83 คน/ เด็กนอกระบบ 1,800 คนทำงานกับเด็ก/เยาวชนและผู้ปกครอง เด็กในชุมชน จำนวน 100 คน
ปี 2564 - ปัจจุบัน
หน่วยจัดการโครงการพลัง เด็กตะวันออกสู่การตั้งรับ ปรับตัวอย่างมีส่วนร่วม สนับสนุน โดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการ สร้างเสริมสุขภาพ (สสส./สำนัก6) แกนนำ 100 คน/พี่เลี้ยง 25 คน/ ผู้รับประโยชน์ 300 คนทำงานกับเด็ก/เยาวชนและผู้ปกครอง เด็กในชุมชน จำนวน 100 คน

ปัจจัยแห่งความสำเร็จ

เครือข่าย
ทุน
การบริหารจัดการ
ความร่วมมือของ
ชุมชน/
นิเวศเชิงพื้นที่

ความท้าทายในการทำงาน

การละเลยจาก
ภาครัฐ