หน่วยงานขับเคลื่อนระดับพื้นที่

เครือข่ายพื้นที่นี้ดีจัง

เครือข่ายพื้นที่นี้ดีจัง


คือการรวมกลุ่มกันของคนที่พบว่าเด็กเยาวชนขาดพื้นที่
สร้างสรรค์ ขาดกิจกรรมสาธารณะ และพื้นที่การมีส่วนร่วม
ขาดพื้นที่และโอกาสที่จะได้ค้นพบตนเอง จึงเน้นทำงาน
เพื่อออกแบบ พัฒนาสร้างสรรค์จนเกิดพื้นที่ที่เรียกได้ว่า
เป็นพื้นที่เรียนรู้ Learning Space สำหรับเด็ก เยาวชน
ครอบครัวและชุมชน ในรูปแบบต่าง ๆ

วัตถุประสงค์ของโครงการ

เพื่อสนับสนุนให้เกิดการ
พัฒนาโปรแกรมการเรียนรู้ที่
เหมาะสมกับทุกกลุ่มเป้าหมาย
ที่สามารถเข้าถึงได้ทุกเวลา
เพื่อจัดกิจกรรมการสื่อสาร
และทำสื่อ ส่งสารไปยังผู้คน
ในสังคมในการเข้าถึงพื้นที่
เรียนรู้
เพื่อสนับสนุนให้เกิดการเข้า
ใช้ประโยชน์พื้นที่เรียนรู้
สนับสนุนให้เกิดการบริการ
กิจกรรมในพื้นที่

รายละเอียดภายในโครงการ

กิจกรรมตามวัตถุประสงค์ที่ 1
กิจกรรมเครือข่ายสัญจร ครั้งที่ 1 (22 กันยายน 2564)
กิจกรรมเครือข่ายสัญจร ครั้งที่ 2 (19-23 ตุลาคม 2565)
กิจกรรมตามวัตถุประสงค์ที่ 2
กิจกรรมทำต้นฉบับสื่อในหลากหลายรูปแบบ
กิจกรรมสื่อสารสู่กลุ่มเป้าหมายผ่านงานออนไลน์
กิจกรรมนักสื่อความหมายธรรมชาติ
กิจกรรมเขาใหญ่ดีจัง / เขาใหญ่วิทยา
1 ปากช่อง จ.นครราชสีมา
กิจกรรมศิลปะนิทานสัญจร 10 โรงเรียน (นิทานธรรมชาติ,
กิ่งไม้เริงระบำ ,โมเดลสัตว์น้อย, ฉากหลากสี และ ละเลงสี ละเลงศิลป์)
กิจกรรม Learning Space เปิดพื้นที่เรียนรู้ในสวนไฟฝัน
จำนวน 4 ครั้ง
จัดพิมพ์หนังสือนิทานธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (นิทาน 4 เรื่อง
เรื่องละ 150 เล่ม รวม 600 เล่ม)
กิจกรรมพิเศษ ร่วมในงานครบรอบ 60 ปี อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
โดยนำกิจกรรมศิลปะจากสีธรรมชาติไปร่วมจัด
2 กลุ่มลูกมะปราง อ.แก่งคอย จ.สระบุรี
เวทีเรียนรู้ร่วมกับภาคีเครือข่ายในพื้นที่ เพื่อหาจุดเด่น จุดร่วมเพื่อ
พัฒนาเป็นโปรแกรมการเรียนรู้ของสวนปู่สม จำนวน 2 ครั้ง
กิจกรรมเปิดพื้นที่เรียนรู้ในสวนปู่สม จำนวน 3 ครั้ง
3 กลุ่มใบไม้ อ.บ้านนา จ.นครนายก
กิจกรรมเรียนรู้ธรรมชาติอย่างง่าย (Bird Watching & Wild Walk)
กิจกรรมทริปเรียนรู้ธรรมชาติ
กิจกรรม Workshop อาสาสมัครพัฒนาฐานเรียนรู้ธรรมชาติ
ค่ายอาสาสมัครพัฒนาและจัดทำฐานกิจกรรมเรียนรู้ธรรมชาติ
“Nature Connect”
4. องนครนายก จ.นครนายก
ดำเนินการในรูปแบบห้องเรียนธรรมชาติ นักสืบสายนก จัดขึ้น 3 รุ่น
รุ่นละ 3 ครั้ง (รุ่นบุคคลทั่วไป 20 คน รุ่นเด็กและเยาวชน 20 คน
รุ่นครอบครัว 20 คน)
5 กลุ่มรักษ์เขาใหญ่ จ.ปราจีนบุรี
กิจกรรมเรียนรู้ธรรมชาติในรูปแบบต่างๆ ทั้ง เรียนรู้เทคนิคการ
ทำ วิจัย หรือเรียนรู้การสื่อความหมายธรรมชาติ ระยะเวลา 2 วัน 1 คืน
ณ อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่ รับสมัคร 30 คนต่อครั้ง
ครั้งที่ 1 จัดขึ้นวันที่ 5-7 มีนาคม 2565
ครั้งที่ 2 จัดขึ้นวันที่ 9-10 มีนาคม 2565

กลุ่มเป้าหมายของโครงการ

ประชาชนทุกเพศทุกวัย
จำนวน
1,153 คน*
ภาคเหนือ
เชียงใหม่
อุตรดิตถ์
ภาคตะวันตก
จ.กาญจนบุรี
จ.เพชรบุรี
ภาคกลาง
กรุงเทพฯ
นครนายก
อุทัยธานี
ภาคอีสาน
นครราชสีมา
ศรีสะเกษ
สุรินทร์
ภาคใต้
ยะลา
นราธิวาส
กระบี่
พัทลุง
*ข้อมูลการดำเนินงาน
ในช่วงสิงหาคม 2564 - พฤษภาคม 2565

ปัจจัยแห่งความสำเร็จ

เครือข่าย
ทุน
การได้ลงมือทำ
ความร่วมมือของ
ชุมชน/
นิเวศเชิงพื้นที่
ความเข้าใจ
ประเด็นในพื้นที่
ความสำเร็จใน
การทำงาน
ก่อนหน้า

ความท้าทายในการทำงาน

ทรัพยากรบุคคุล
การละเลยจาก
ภาครัฐ