Organization & Learning Space

ห้องสมุดแมวหางกิ้นส์

ห้องสมุดเเมวหางกิ๊นส์


การสร้างสรรค์ชุมชนการเรียนรู้สำหรับเด็ก ผ่านห้องสมุด การอ่าน และการทำงานศิลปะเพื่อสร้างการเรียนรู้ให้กับเยาวชนในชุมชนจังหวัดอุบลราชธานี

เเมวหางกิ้นส์ หรือเเมวหางกุดในภาษาถิ่นอีสานที่มาของชื่อห้องสมุดของทาสเเมว

เป้าหมายของโครงการ

การสร้างพื้นที่การเรียนรู้ผ่านกิจกรรมห้องสมุด
เพื่อให้เด็กและเยาวชนสามารถเรียนรู้ได้ด้วย
ตนเองผ่านการศึกษาเเบบตามอัธยาศัย
เเละเสริมสร้างทักษะในด้านต่าง ๆ
ทักษะการเรียนรู้
ของเด็กๆ
กระบวนการคิด
กระบวนการ
แสดงออก
การมีปฏิสัมพันธ์
กับผู้อื่น
คุณค่าและศักยภาพ
ของเด็กๆ

ทิศทางในอนาคต

มุ่งหน้าสร้างระบบในการทำงานเเละทีม
เพื่อนำไปสู่การขยายองค์ความรู้ที่กว้างขึ้น

Timeline

2560
ใช้พื้นที่ ห้องสมุดลำน้ำเช
2563
- ริเริ่มไอเดียการสร้างห้องสมุดเพื่อรองรับเด็กที่มากขึ้น
- ขายหนังสือเพื่อหารายได้
2564
ห้องสมุดเเมวหางกิ้นส์

รายละเอียดกิจกรรมภายในโครงการ

การฝึกอ่านออกเสียง
อย่างมีความมั่นใจ
การสร้างความตระหนักรู้
ในคุณค่าของตนเองผ่าน
กิจกรรมการอ่าน
การเรียนรู้เเละเข้าใจ
ตนเองผ่านการเลือก
หนังสือและวิเคราะห์
ตัวละคร
การเขียนบทกวี
ของเด็ก ๆ
การเล่นเกมเพื่อ
สร้างการเรียนรู้
การเชื่อมโยงสิ่งเเวดล้อม
ในชุมชนเข้ากับกิจกรรม
การเรียนรู้ในห้องสมุด
โครงการสุข 2 วัย รวมกับสสส.
โครงการสร้างความเข้าใจในมิติที่เเตกต่างระหว่าง
โลกของเด็กและผู้ใหญ่ รวมถึงประเด็นเรื่อง
ภูมิปัญหาท้องถิ่น

กลุ่มเป้าหมายโครงการ

กลุ่มนักเรียนชั้น
ประถมศึกษา
(6 - 11 ปี)
กลุ่มนักเรียนระดับชั้น
มัธยมศึกษาตอนต้น
(12 - 15 ปี)
กลุ่มนักเรียนระดับชั้น
มัธยมศึกษาตอนปลาย
(16 - 18 ปี)

ปัจจัยแห่งความสำเร็จ

ความร่วมมือของ
ชุมชน/
นิเวศเชิงพื้นที่
ความสามารถ
ในการทำงาน
ด้วยตนเอง
การสื่อสาร
สู่สาธารณะ

ความท้าทายในการทำงาน

ทรัพยากรบุคคุล
เงินทุน