หน่วยงานขับเคลื่อนระดับพื้นที่

สถาบันการเรียนรู้ไทยเบิ้ง

เป็นองค์กรในการขับเคลื่อนการทำงานโดยมีเป้าหมาย
ที่สำคัญ คือ ความสุขร่วมของคนในชุมชนบนวิถี
วัฒนธรรมไทยเบิ้งและวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาคน
กระบวนการให้เท่าทันความเปลี่ยนแปลงของสังคม
พร้อมกับพัฒนาความยั่งยืนของชุมชนภายใต้วิถี
วัฒนธรรมชุมชน ภูมิปัญญาท้องถิ่น และสร้าง
ความร่วมมือเครือข่ายการทำงานทุกภาคส่วน

เป้าหมายของโครงการ

ผลักดันคนในชุมชน
ผ่านการสร้างกลุ่ม
คนรุ่นต่อไป
มีการจัดระบบความรู้
ภูมิปัญญาท้องถิ่นให้ทุก
คนได้เข้าไปเรียนรู้
มีการจัดการชุมชนให้รู้เท่า
ทันการเปลี่ยนแปลงของ
สังคมได้ เพื่อพึ่งพา
ตนเองให้ได้มากที่สุด

กลุ่มเป้าหมายของโครงการ

ประชาชนใน จังหวัดลพบุรี
ไม่จำกัดอายุ

ศาสตร์แห่งการพัฒนาโครงการ

ศาสตร์ภูมิปัญญา
ท้องถิ่น
ศาสตร์
สากล
ศาสตร์
พระราชา
องค์ความรู้สมัยใหม่ที่
ต้องรับมาและประยุกต์ใช้
ให้เหมาะสม
องค์ความรู้ภูมิปัญญา
ท้องถิ่นที่สั่งสมกันมา
หลายชั่วอายุคน
คอยกำกับย้ำ เตือนไม่ให้
การอนุรักษ์ ฟื้นฟู สืบสาน
และพัฒนาของไทยเบิ้ง
แห่งบ้านโคกสลุงเดิน
หลงทิศ หรือลำพองใจ

กระบวนการการดำเนินงาน

เริ่มต้นจากการขอทุนและผู้มีความรู้จากด้านนอกเข้ามาสอนคนด้านในชุมชน จากนั้นจึงเริ่มมีการพัฒนา
ตัวเองโดยให้คนภายในชุมชนมาถ่ายทอดความรู้ไปสู่สังคม โดยส่วนสำคัญต่าง ๆ นั้นจะเป็นการคำนึง
ถึงข้อมูลหลัก ๆ
การจัดการศึกษาบนฐานชุมชน
เศรษฐกิจชุมชน
พัฒนาคนและกระบวนการเรียนรู้
การจัดการสิ่งแวดล้อม
สวัสดิการชุมชน
วัฒนธรรม

กิจกรรมในโครงการ

หลักสูตร
กระบวนการชุมชน
1
หลักสูตรสุนทรีย
สนทนา
2
หลักสูตรวิธีคิด
กระบวนระบบ
3
หลักสูตรการสร้าง
เครือข่ายที่มีพลัง
4
หลักสูตรการ
ทำแผน
ยุทธศาสตร์
5
หลักสูตรการ
เรียนรู้ชุมชน
6
หลักสูตรการ
ออกแบบต้อนรับนัก
ท่องเที่ยว
7
ระดมความคิดกับชาวบ้านในหมู่บ้าน ในลักษณะการเปิดเวทีประชาคม ค้นพบว่าทุนทางวัฒนธรรมคือ
ของดีที่มีอยู่ จึงต้องการพัฒนาต่อยอด เกิดเป็นการขับเคลื่อนโครงการใน 3 กิจกรรม
พัฒนาเครือข่ายกลุ่มทอผ้าตำบลโคกสลุง รวมตัวได้ 5 หมู่บ้านจาก 11
หมู่บ้าน และเป็นโครงการที่ยังอยู่จนถึงปัจจุบัน
พิพิธภัณฑ์พื้นบ้าน ด้วยการจำลองที่อยู่อาศัยในอดีตของชาวไทยเบิ้ง
โดยตั้งเป้าให้เป็นพิพิธภัณฑ์ที่คนจะได้มารวมตัวกัน ไม่ใช่สถานที่ที่เอา
ไว้เก็บของเก่า แต่เป็นพิพิธภัณฑ์ที่มีชีวิต เคลื่อนไหว และมีกิจกรรมให้
คนมีส่วนร่วมได้
สร้างและพัฒนาผู้นำ หรือแกนนำ ของชุมชน เพราะเชื่อว่า “คน” คือ
กำลังสำคัญ ที่จะใช้เครื่องมือและความรู้ภูมิปัญญาที่มีให้เกิดประโยชน์
และการเปลี่ยนแปลงของชุมชนไปในแนวทางที่ดีได้เป้าหมาย คือ ความสุข
ร่วมกันของคนในชุมชนบนวิถีวัฒนธรรมไทยเบิ้งบ้านโคกสลุง

ปัจจัยแห่งความสำเร็จ

เครือข่าย
ทุน
ความร่วมมือของ
ชุมชน/
นิเวศเชิงพื้นที่
การสร้างทายาท
ความเข้าใจ
ประเด็นในพื้นที่

ความท้าทายในการทำงาน

ความร่วมมือของ
หน่วยงานภาครัฐหลายฝ่าย